การเจาะสำรวจดิน (https://groups.google.com/g/comp.security.ssh/c/aegW_TxKK-8) ✅คือกรรมวิธีการเจาะลงไปในชั้นดิน, เก็บตัวอย่างดิน, ทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม, หยั่งชั้นดินจากผิวดิน 🛒หรือใช้เทคนิคอื่น ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลทางแนวดิ่งของชั้นดิน และการเปลี่ยนแปลงทางแนวราบ เพียงพอในการที่จะใช้ออกแบบ 🛒หรือศึกษาทางด้านปฐพีกลศาสตร์ ลักษณะการเจาะสำรวจดินจะต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้งานด้วย เช่น การสร้างถนนหรือสนามบิน การสำรวจจะเป็นการเจาะตื้น แต่งานฐานรากลึกต้องเจาะลึกกว่าปลายเข็มที่ใช้ 🦖สำหรับในบทนี้จะพูดถึงการเจาะสำรวจดินโดยวิธีเบื้องต้น โดยใช้ สว่านมือ, การเจาะล้าง 🌏และการเก็บตัวอย่างดินโดยใช้กระบอกเปลือกบาง (Thin Walled Tube)👉
✅✅✅เหตุผลในการเจาะสำรวจดินก่อนก่อสร้าง🎯🎯🎯
1. การทราบประเภทและชนิดของดินใต้พื้นที่ 🦖ทราบลักษณะเชิงกล เราจะได้เลือกใช้ฐานรากได้ถูกประเภท 📢เช่น หากดินแข็งพออาจจะเลือกใช้เป็นฐานแผ่แทน🌏
2. การรู้ความลึกของชั้นดินแข็ง ✨ช่วยในการคำนวณกำลังรับน้ำหนักเสาเข็ม✅ เลือกขนาดและความยาวเสาเข็มที่ต้องใช้ได้🎯
3. เพื่อลดความผิดพลาดในการตอกเสาเข็ม 👉เพราะหากเจอชั้นดินแข็ง แต่ไม่หนาที่ชั้นความลึกไม่มาก 👉อาจทำให้คนตอกเสาเข็มหยุดตอก เพราะคิดว่าถึงชั้นดินแข็งแล้ว 🌏ทั้งที่จริง ๆ ยังสามารถตอกต่อไปได้ 📌หากพื้นที่สำรวจมีความผันผวนของดินสูง วิศวกรควรสั่งให้เจาะสำรวจดินหลาย ๆ หลุมให้เพียงพอ เพื่อเปรียบเทียบ ⚡เพราะอาจต้องออกแบบฐานรากหลายชนิด สำหรับก่อสร้างอาคารนั้น⚡
(https://i0.wp.com/xn--82ca0bu1cyat1crc0a8k9g.com/wp-content/uploads/2024/07/Wash-Boring-vs-Rotary-Drilling.jpg?resize=306%2C205&ssl=1)
📌📌📌วิธีเจาะสำรวจชั้นดิน (Soil Boring)📢📢📢
การเจาะดิน🌏คือการการขุดหลุมในดินเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของชั้นดิน✨และเก็บตัวอย่างดินมาทำการทดสอบคุณสมบัติในห้องปฏิบัติการ🦖โดยทั่วไปวิธีการสำรวจดินที่นิยมในประเทศไทย 🛒ได้แก่
1. การเจาะโดยใช้สว่านมือ (Hand Auger) 🛒เป็นการเจาะที่ใช้แรงคน โดยใช้สว่านมือและก้านเจาะดังรูปด้านล่าง 🦖โดยที่ก้านเจาะซึ่งยาวประมาณ 1 เมตร สามารถต่อให้ยาวหลาย ๆ ท่อนได้ เมื่อกดพร้อม ๆ กับหมุนก้านจนดินเข้ามาเต็มสว่านแล้วจึงดึงขึ้นเพื่อนำดินออก 📢ดินส่วนนี้สามารถนำไปทดสอบคุณสมบัติบางประเภททางวิศวกรรม ✅การเจาะด้วยสว่านมือสามารถทำได้ลึกถึง 6-10 เมตรในดินเหนียวแข็งปานกลาง 👉ข้อเสียของการเจาะประเภทนี้คือไม่สามารถเก็บตัวอย่างดินเพื่อนำมาหาคุณสมบัติด้านความแข็งแรงหรือการทรุดตัวของดินได้เนื่องจากโครงสร้างดินถูกทำลายโดยสว่าน🛒
2. การเจาะโดยใช้การฉีดล้าง (Wash Boring) 🥇คือการใช้แรงดันน้ำฉีดเจาะทำลายโครงสร้างดินเพื่อให้เกิดหลุม และลดการรบกวนโครงสร้างดินด้านล่างให้น้อยที่สุด 🦖วิธีการเจาะเริ่มโดยการเจาะชั้นดินโดยการสูบน้ำผ่านก้านเจาะลงไปที่หัวฉีดที่ก้นหลุมพร้อม ๆ กับกระแทกหรือหมุนของหัวเจาะ ⚡ทำให้ดินก้นหลุมหลุดไหลตามน้ำขึ้นมาบนผิวดินลงในอ่างตกตะกอนแล้วสูบน้ำที่ใสนำไปใช้ได้อีก 🌏ดังรูปด้านล่าง วิธีนี้ต้องอาศัยสามขา (Tripod) เครื่องกว้าน (Motor และ Catch head) 🌏และเครื่องสูบน้ำ ในกรณีที่เจาะดินอ่อน จะต้องใช้ปลอกกันดินพัง (Casing)ด้วย โดยต่อเป็นท่อน ๆ 🥇และเมื่อเจาะถึงชั้นทรายจะไหลเข้ามาในหลุม จึงต้องผสมสารเบนโทไนต์ (Bentonite) กับน้ำ 🥇เนื่องจากเบนโทไนต์คือแร่ชนิด มอนต์มอริลโลไนต์ มีความสามารถในการดูดน้ำดีและพองตัวได้มาก 🥇ทำให้ความหนาแน่นของน้ำภายในหลุมมากกว่าน้ำในชั้นทราย🌏 น้ำจึงไม่ไหลเข้าในหลุม การเจาะประเภทนี้สามารถหยุดเพื่อเก็บตัวอย่างดินได้เป็นระยะ ๆ ตามกำหนด 🥇การเจาะสำรวจในกรุงเทพฯ สำหรับการก่อสร้างอาคารจะอยู่ที่ความลึก 30-80 เมตร ขึ้นอยู่กับน้ำหนักของอาคาร🛒
ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณครับ
เข้าใจแล้วครับ
เข้าใจแล้วค่ะ